วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ผลคูณคาร์ทีเซียน


     ผลคูณคาร์ทีเซียน ของ เซท A และ B คือ
    เซตของคู่อันดับ ที่มีสมาชิกตัวหน้าเป็นเซตของ A
                             และสมาชิกตัวหลังเป็นเซตของ B                                
   เขียน แทนด้วยภาษาคณิตศาสตร์เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันคือ
      ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesion product)           
 เขียนแทนด้วย  A X B  อ่านว่า เอ คูณ บี หรือ เอ ครอส ( cross) บี
และเมื่อ B เป็นเซตว่าง จะทำให้ ค่า A X B เท่ากับเซตว่าง

                 ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesion product)

สรุป อย่างภาษาง่าย ๆเราจะได้ ว่า   เซต A คูณ เซต B
 จะได้คู่อันดับ ซึ่งมีสมาชิกตัวแรกเป็นสมาชิก จากเซต A 
             และสมาชิกตัวที่สอง เป็นสมาชิก จากเซต Bอ่านต่อ

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล



ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีการตั้งชื่อไม่เหมือนกัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของฟังก์ชันซึ่งเราจะไปดูว่าฟังก์ชันเอกซ์โพนเนนเชียลนั้นมีรูปแบบอย่างไร ก็ต้องไปดูนิยามของมันครับ ว่านิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลนั้นเป็นอย่างไร
นิยาม ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลคือ ฟังก์ชัน
\dpi{110}f=\{(x,y)\in R \times R \mid y=a^{x} ,a>0,a\neq  1\}

จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้องไม่เป็น 1  ตัวอย่างของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเช่น
\dpi{200}y=10^{x}
\dpi{200}y=\left(\frac{1}{5}\right)^{x}
\dpi{200}y=(\sin 30^{\circ})^{x}
\dpi{200}y=(\sqrt{2})^{x}

ฟังก์ชันกำลังสอง


ฟังก์ชันกำลังสอง   (Quadratic function)
            ฟังก์ชันกำลังสองเป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูป    y   =   ax2 + bx + c   เมื่อ  a, b, c  เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ  ¹ 0   ซึ่งกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง  เรียกว่า  พาราโบลา
1)     y  =  2x2 + 3x – 10     เมื่อ   a = 2 ,  b = 3   และ  c = -1
                                2)     y  =   x2 + 1                เมื่อ   a = 1 ,  b = 0   และ  c =  1
                                3)     y  =  -x2 + 2x + 1       เมื่อ   a = -1 ,  b = 2   และ  c = 1
                1)   กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ที่กำหนดด้วยสมการ    y  =  ax2   เมื่อ  ¹ 0
                         กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง   มีชื่อเรียกว่า  พาราโบลา  ซึ่งลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c   และเมื่อ  a  เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ และกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่กำหนดด้วยสมการ    y  =  ax2   เมื่อ  ¹ 0       เมื่อ  a  > 0   และชนิดคว่ำ   เมื่อ   a < 0    
                
                2)  กราฟที่กำหนดด้วยสมการ   y  =  ax2 + k   เมื่อ  a ¹ 0  และ ¹ 0 
                         กราฟที่กำหนดด้วยสมการ   y  =  ax2 + k   เมื่อ  a ¹ 0  และ ¹ 0  จะเป็นกราฟพาราโบลาที่มีจุดวกกลับหรือจุดสูงสุดหรือจุดต่ำสุด  อยู่ที่  (0, k)  และแกนสมมาตรคือ  แกน  Y
              3.  กราฟของ   y  =  a(x – h)2     เมื่อ   ¹ 0  และ h > 0 
                      3.1)  กราฟที่กำหนดด้วยสมการ    y   =   a(x – h)2    เมื่อ  ¹ 0  และ  h  ¹ 0   จะเป็นกราฟ
พาราโบลาที่มีจุดวกกลับหรือจุดสูงสุดหรือจุดต่ำสุดอยู่ที่  (h, 0) และแกนสมมาตรคือเส้นตรง  x = h
                     3.2)  กราฟของ   y  =  a(x – h)2     เมื่อ   ¹ 0  และ  h < 0 
                                ถ้า  h < 0   จะได้สมการใหม่เป็น     y        =    a(x – (-h))2
                                                                                                  =    a(x + h)2
                4.  กราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่กำหนดด้วยสมการ  y  =  a(x – h)2 + k  เมื่อ  a ¹ 0 ,  h ¹ 0 
                    และ  
¹ 0   จะเป็นพาราโบลาที่มีจุดวกกลับหรือจุดสูงสุดหรือจุดต่ำสุดอยู่ที่  (h, k)  และมีแกนสมมาตรคือ  เส้นตรง  x  =  h
             5.  กราฟที่กำหนดด้วยสมการ   y  =  ax2 + bx + c   เมื่อ               a ¹ 0   การเขียนกราฟควรจัดสมการให้อยู่ในรูป   
y   =   a(x – h)2 + k   จะทำให้เขียนกราฟได้ง่ายขึ้น อ่านต่อ
                

ฟังก์ชัน



ภาพรวมบทเรียน